หลังจากที่ได้เตรียม Fedora Core 10 เรียบร้อยแล้ว ต่อมาก็เตรียมการลง Oracle 11g ได้เลย เริ่มตามขั้นตอน ดังนี้ ให้ Log-on เป็น Root ( su - root )
1. แก้ไข /etc/sysctl.conf เพิ่ม Parameter ด้านล่างนี้ ต่อจากบรรทุดสุดท้าย
kernel.shmall = 2097152 kernel.shmmax = 2147483648 # Smallest of -> (Half the size of the physical memory) or (4GB - 1 byte) kernel.shmmni = 4096 # semaphores: semmsl, semmns, semopm, semmni kernel.sem = 250 32000 100 128 fs.file-max = 65536 # 512 * PROCESSES net.ipv4.ip_local_port_range = 1024 65000 net.core.rmem_default=4194304 net.core.rmem_max=4194304 net.core.wmem_default=262144 net.core.wmem_max=262144
2. แก้ไข /etc/security/limits.conf oracle soft nproc 2047 oracle hard nproc 16384 oracle soft nofile 1024 oracle hard nofile 65536
3. แก้ไข /etc/redhat-release โดยแทนที่ (Fedora release 10 (Cambridge) ด้วย redhat release 5
4. Install Package ที่จำเป็น yum install binutils yum install glibc glibc-common libgcc libstdc++ yum install make yum install elfutils-libelf elfutils-libelf-devel yum install glibc-devel gcc gcc-c++ libstdc++-devel yum install unixODBC unixODBC-devel yum install libaio libaio-devel yum install sysstat
5. สร้าง Group และ User ที่จำเป็นต้องใช้งาน groupadd oinstallgroupadd dbagroupadd oper
useradd -g oinstall -G dba,oper oraclepasswd oracle
6. สร้าง Directory สำหรับการติดตั้ง Oracle mkdir -p /u01/app/oracle/db11gchown -R oracle:oinstall /u01 chmod -R 775 /u01
7. ใช้ คำสั่ง xhost + Log-on เป็น Oracle (su - oracle )
8. แก้ไข .bash_profile # Oracle Settings TMP=/tmp; export TMP TMPDIR=$TMP; export TMPDIR
ORACLE_HOSTNAME=fedora10.localdomain; export ORACLE_HOSTNAME ORACLE_BASE=/u01/app/oracle; export ORACLE_BASE ORACLE_HOME=$ORACLE_BASE/db11g; export ORACLE_HOME ORACLE_SID=DB11G; export ORACLE_SID ORACLE_TERM=xterm; export ORACLE_TERM PATH=/usr/sbin:$PATH; export PATH PATH=$ORACLE_HOME/bin:$PATH; export PATH
LD_LIBRARY_PATH=$ORACLE_HOME/lib:/lib:/usr/lib; export LD_LIBRARY_PATH CLASSPATH=$ORACLE_HOME/JRE:$ORACLE_HOME/jlib:$ORACLE_HOME/rdbms/jlib; export CLASSPATH
if [ $USER = "oracle" ]; then
if [ $SHELL = "/bin/ksh" ]; then
ulimit -p 16384
ulimit -n 65536
else
ulimit -u 16384 -n 65536
fi
fi
9. ใช้ คำสั่ง ./runInstaller 10. ปรากฎหน้าจอแรก เลือก Advance Installation 11. กำหนด Directory สำหรับ Inventory  12. เลือก Installation Type 13. เลือก Location 14. หน้าจอ สำหรับ Oracle Check Parameter ที่ต้องใช้ ถ้ามี error เกี่ยวกับ OS Package ให้ลองดู ว่า Install Package ในข้อ 4 ครบแล้วหรือยัง ถ้าแน่ใจครบแล้ว สามารถทำขั้นต่อได้เลย 15. หน้าจอ Database Option 16. หน้าจอ Database Configuration 17. หน้าจอ กำหนด SID  18. กำหนดรายละเอียดของการ Config  19. หน้าตจอกำหนด Storage 20. หน้าจอ Backup and Recovery Option 21. หน้าจอ Oracle Manager Registration 22. หน้าจอ กำหนด Group 23. หน้าจอ Oracle Manager Registration 24. หน้าจอ Summary  25. เริ่มการติดตั้ง  26. ติดต้ังเรียบร้อย เท่านี้ก็ติดตั้ง Oracle Database 11g พร้อมสำหรับการใช้งานแล้วครับ ไม่ยากนะครับ ค่อยๆ ทำที่ขั้นตอนตามลำดับ
|